CORE
🇺🇦
make metadata, not war
Services
Research
Services overview
Explore all CORE services
Access to raw data
API
Dataset
FastSync
Content discovery
Recommender
Discovery
OAI identifiers
OAI Resolver
Managing content
Dashboard
Bespoke contracts
Consultancy services
Support us
Support us
Membership
Sponsorship
Community governance
Advisory Board
Board of supporters
Research network
About
About us
Our mission
Team
Blog
FAQs
Contact us
พัฒนาดินซีเมนต์ลูกรังผสมวัสดุเถ้าทิ้งจากผลผลิตอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมเป็นอิฐประสาน
Authors
Nirojn Ngenprom
Sumrerng Rukzon
Publication date
6 November 2013
Publisher
Abstract
รายงานวิจัย -- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2555จากการทดลองวิจัยพบว่าตัวอย่างดินลูกรังผสมเถ้าทิ้งจากอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมสามารถเป็นวัสดุก่อสร้างอิฐประสานได้ตามความเหมาะสมตามอัตราส่วนและกาลังที่ต้องการ โดยมีองค์ประกอบทางเคมีของดินลูกรัง, เถ้าแกลบและเถ้าชานอ้อย พบว่าดินลูกรังมีซิลิกอน ออกไซด์ (SiO2), อลูมิน่า ออกไซด์ (Al2O3), ไอรอน ออกไซด์ (Fe2O3) เป็น 58.60 %, 25.50%, 13.00% ตามลาดับและพบสารประกอบ Silicon Oxide (SiO2) : Quartz เถ้าแกลบมีซิลิกอน ออกไซด์ (SiO2), แคลเซียม ออกไซด์ (CaO), โพแทสเซียม ออกไซด์ (K2O) เป็น 94.00%, 2.00%, 2.80% ตามลาดับและพบสารประกอบ Silicon Oxide (SiO2) : Cristobalite เถ้าชานอ้อยมีซิลิกอน ออกไซด์ (SiO2), แคลเซียม ออกไซด์ (CaO), โพแทสเซียม ออกไซด์ (K2O) เป็น 74.7%, 07.8%, 5.4% ตามลาดับและพบสารประกอบ Silicon Oxide (SiO2) : Quartz ผลการทดสอบกาลังอัดพบว่าตัวอย่างทดสอบเถ้าแกลบที่มีกาลังอัดน้อยกว่า 70 ksc. 34 ตัวอย่างระหว่าง 70-100 ksc. 7 ตัวอย่าง และมากกว่า 100 ksc. 24 ตัวอย่าง ตัวอย่างทดสอบเถ้าชานอ้อยที่มีกาลังอัดน้อยกว่า 70 ksc. 25 ตัวอย่างระหว่าง 70-100 ksc. 8 ตัวอย่างและมากกว่า 100 ksc. 32 ตัวอย่าง ซึ้งพบว่าดินลูกรังและเถ้าทิ้งเมื่อเพิ่มปริมาณปูนมากขึ้นกาลังรับแรงเพิ่มตามสาดับผู้ใช้ควรเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับงาน ผลการทดสอบการดดูดซึมน้าพบว่าอิฐประสานจากเถ้าแกลบและเถ้าชานอ้อยหลังการแช่น้าไม่สามารคงรูปอยู่ได้ 11 ตัวอย่างซึ่งเห็นว่าไม่มีวัสดุที่ก่อให้เกิดการแข็งตัว อิฐประสานจากเถ้าแกลบและเถ้าชานอ้อยสามารถดูซึมน้าได้น้อยกว่า 30% จานวน 51 ตัวอย่างและ 53 ตัวอย่าง ตามลาดับ ซึ้งสามารถนาไปใช้ในงานก่อสร้างได้ผลการทดสอบการเปลี่ยนแปลงปริมาตรจากความชื้นพบว่าอิฐประสานจากเถ้าแกลบและเถ้าชานอ้อยไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาตรหรือเกิดน้อยมากจานวน 10 และ14 ตัวอย่างตามลาดับซึ้งเป็นคุณสมบัติที่ดีของวัสดุก่อสร้างRajamangala University of Technology Phra Nakho
Similar works
Full text
Open in the Core reader
Download PDF
Available Versions
Intellectual Repository at Rajamangala University of Technology Phra Nakhon
See this paper in CORE
Go to the repository landing page
Download from data provider
oai:localhost:123456789/1221
Last time updated on 26/04/2020