การพฒั นาเครือข่ายบริการสุขภาพชุมชนสำหรบั ผู้ป่ วยเบาหวานของโรงพยาบาลโพธาราม

Abstract

AbstractObjectives: This quasi-experimental study aimed to develop the primarycare network model of Photharam hospital. Method: The patients weredivided into control group (n = 48) receiving regular service at the hospitaland treatment group (n = 50) receiving services at the Primary Care Unit(PCU). Clinical outcome of stable patients at baseline and after 6 monthswere compared and healthcare providers’ and patients’ satisfaction wereobtained during the period from November 4, 2009 to August 15, 2010.Data collection was performed using clinical data and questionnaire. Thepercentage and mean were calculated and independent t-test wasperformed.Results: The differences in fasting blood sugar, hemoglobinA1c, systolic blood pressure and diastolic blood pressure, cholesterol,triglyceride, low density lipid and high density lipid level between the twogroups were not statistically significant at P = 0.05. Most patients (95.5%)were very satisfied with overall services. They reasoned that PCU serviceswere faster and more convenient than those at the hospital whilemaintaining similar level of disease control. Acceptability among PCUpatients was high and most patients (95.5%) agreed to continue to receivecare at the PCU. Healthcare providers were also satisfied with providingcare at PCU since this would be a direct benefit for the patients.Conclusion: Healthcare services for diabetic patients at the PCU were aseffective as those at the hospital. A primary care network service was oneof the models for developing quality services for diabetic patients.Keywords: primary care network, diabetes mellitus, effectiveness,satisfactionบทคัดย่อวัตถุประสงค์: การศึกษากึ่งทดลองเพื่อพัฒนาเครือข่ายบริการสำหรับผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาลโพธาราม ที่ยังคงไว้ซึ่งคุณภาพในการรักษาและความพึงพอใจของผู้ให้และผู้รับบริการ วิธีการศึกษา: โดยเปรียบเทียบผลทางคลินิกของผู้ป่วยที่มีสภาวะคงที่ก่อนและภายหลัง 6 เดือน ศึกษาความพึงพอใจของผู้ให้บริการและผู้ป่วย ระหว่างวันที่ 4 พฤศจิกายน 2552 ถึง 28 กรกฎาคม 2553 เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบบันทึก แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม แบ่งผู้ป่วยเป็นกลุ่มควบคุมจำนวน 50 คน ซึ่งรับบริการที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลโพธาราม และกลุ่มทดลองจำนวน 48 คน ซึ่งรับบริการที่ศูนย์สุขภาพชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ t-test ผลการศึกษา: พบว่าระดับน้ำตาลของผู้ป่วยขณะอดอาหาร ฮีโมโกลบินเอวันซี ความดันโลหิตตัวบนและตัวล่าง คลอเรสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ เอชดีแอล และแอลดีแอล ของผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผู้ป่วยเกือบทัง้ หมด (91.3%) พึงพอใจต่อบริการโดยรวมและเห็นว่าบริการที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสะดวกและรวดเร็วกว่าที่โรงพยาบาล ขณะที่การควบคุมสภาวะโรคของผู้ป่วยไม่แตกต่างกัน และผู้ป่วยเกือบทั้งหมด (95.5%) อยากเข้าร่วมโครงการต่อไป ส่วนผู้ให้บริการพึงพอใจต่อโครงการเช่นกันและเห็นว่าเป็นประโยชน์โดยตรงต่อผู้ป่วย สรุป: การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสถิติของประสิทธิผลในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานระหว่างศูนย์สุขภาพชุมชนกับคลินิกเบาหวานของโรงพยาบาลผู้รับบริการและผู้ให้บริการมีความพึงพอใจในรูปแบบบริการที่พัฒนาขึ้น ดังนั้นเครือข่ายบริการสุขภาพชุมชนเป็นรูปแบบหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพบริการในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาลคำสำคัญ: เครือข่ายบริการสุขภาพชุมชน, เบาหวาน, ประสิทธิผล, ความพึงพอใ

    Similar works