CORE
🇺🇦
make metadata, not war
Services
Services overview
Explore all CORE services
Access to raw data
API
Dataset
FastSync
Content discovery
Recommender
Discovery
OAI identifiers
OAI Resolver
Managing content
Dashboard
Bespoke contracts
Consultancy services
Support us
Support us
Membership
Sponsorship
Community governance
Advisory Board
Board of supporters
Research network
About
About us
Our mission
Team
Blog
FAQs
Contact us
กปริมาณสารรังสีที่ได้รับจากการถ่ายภาพเอกซเรย์สำ�หรับแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
Authors
Ram Duriseti
Sally Greenwald
+3 more
Shoreh Kooshesh
Trisha J. Ma
Anil S. Menon
Publication date
13 July 2012
Publisher
eScholarship, University of California
Abstract
บทนำ การดูแลผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินมักมีอุปสรรคจากการซักประวัติเก่าของผู้ป่วย ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มักค้นหาจากเวชระเบียนได้เป็นอย่งดี งานวิจัยนี้ทำการศึกษาความสมัครใจของผู้ป่วยฉุกเฉินและแพทย์ในการนำข้อมูลจากเวชระเบียนมาใช้วิธีการ เป็นการศึกษาแบบตัดขวาง(cross sectional study)โดยทำการสอบถามผู้ป่วยที่มาใช้บริการในห้องฉุกเฉินทั้งหมด219คนและมีผู้ตอบแบบสอบถามกลับมา184คน(84%) ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยทั้งข้อมูลพื้นฐาน ความสมัครใจ อุปสรรคในการตามเวชระเบียนมาใช้ และให้ผู้ป่วยประเมินความรุนแรงของโรคตนเองออกเป็น5สเกล แบบสอบถามจะสอบถามทั้งผู้ป่วยและแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน โดยที่แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินตอบกลับจำนวน210คนจากทั้งหมด219คน(96%)ผลลัพธ์จากการตอบแบบสอบถามกลับของผู้ป่วยฉุกเฉินจำนวน184คน พบว่า78%ต้องการให้ค้นหาข้อมูลของเวชระเบียนได้ทางอินเตอร์เนตซึ่งเข้าได้กับ 83%ของแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน นอกจากนี้ยังพบว่ามีจำนวน <10%ต้องการให้บริษัทคอมพิวเตอร์ บริษัทประกันชีวิตหรือรัฐบาลทำการควบคุมฐานข้อมูลประวัติของผู้ป่วย ในขณะที่จำนวน>50%ต้องการให้โรงพยาบาลทำการควบคุมฐานข้อมูลเอง ผู้ป่วยที่ถูกตรวจรักษาโดยแพทย์ที่ไม่ต้องการตามเวชระเบียนมักมีอาการของโรคที่รุนแรงน้อยกว่าแพทยที่ตามหาเวชระเบียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ( 1.5 vs. 2.4, P< 0.01) รวมทั้งจำนวน57%ของแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินจะใช้เวชระเบียนถ้าสามารถตามข้อมูลจากเวชระเบียนให้ได้ภายในระยะเวลา< 5นาที สรุป ส่วนใหญ่ผู้ป่วยและแพทย์ในห้องฉุกเฉินสมัครใจที่จะตามเวชระเบียนโดยเฉพาะในกรณีเป็นผู้ป่วยของโรงพยาบาล แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินมักค้นหาข้อมูลจากเวชระเบียนโดยเฉพาะเมื่อทำการรักษาในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมากๆ และความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ป่วยสำคัญมากต่อการทำงานในห้องฉุกเฉิน [West J Emerg Med. 2012;13(2):172–175.
Similar works
Full text
Available Versions
Sustaining member
eScholarship - University of California
See this paper in CORE
Go to the repository landing page
Download from data provider
oai:escholarship.org:ark:/1303...
Last time updated on 25/12/2021