การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ภายใต้แนวคิดทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคมและการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ กลุ่มที่ศึกษาในการวิจัยนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ภายใต้แนวคิดทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคมและการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ แบบสอบถามความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และแบบสัม-ภาษณ์ความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คำสำคัญ: ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ รูปแบบการเรียนรู้ วิทยาศาสตรศึกษา Abstract This research aimed to study understanding nature of science of 11th grade students through socioscientific issues-based inquiry instructional model. Thirty-two students of 11th grade were participated. Research tools were socioscientific issues-based inquiry instructional model, NOS understanding questionnaires, and NOS understanding interviewing form. The results revealed that they had NOS understanding posttest scores higher than those pretest scores at .01 level of statistical significance. Keywords: Nature of science, Instructional model, Science educatio
To submit an update or takedown request for this paper, please submit an Update/Correction/Removal Request.